27.12.12

พระคาถาธารณปริตร



ความเป็นมาของพระคาถาธารณปริตร
       
         เมื่อครั้งออกพรรษาปี 2526 พระป่ารูปหนึ่งได้มีโอกาสออกวิเวก เจริญรุกขมมูล ธุดงค์๋ทางภาคเหนือ และชายแดนฝั่งพม่าเขตดินแดนในแวดวงหมู่บ้านชาวเผ่าต่างๆ นานเกือบ 3 เดือน ขณะปักกลดพักที่ดอยพระบาทห้วยต้ม ได้พบและปรึกษาธรรมปฏิบัติกับ พระอาจารย์รังสรรค์โชติปาโล ซึ่งพึ่งธุดงด์เดินป่ามาจากพม่า และได้จดจำเอาพระคาถาธารณปริตร จากวัดอรัญตะยา ไนมัณดะเลย์ ประเทศพม่ิามาด้วย
         เนื่องจากเห็นว่าเป็นบทสวดสรรเสริญพุทธคุณ ที่ในประเทศไทยเรายังไม่คุ้นเคย หรือมีปรากฎมาก่อน จะด้วยเหตุใดก็ตาม เมือพระป่ามาพบกันหลายองค์ที่ลำพูน ก็ได้นำพระคาถาบทนี้ทำวัตรค่ำร่วมกันติดต่อกันถึง 5 วัน ก่อนทำเพียรภาวนาทุกค่ำคืน ได้ปรากฏเห็นหมู่เหล่าเทวดาอารักษ์ในนิมิตมาชุมนุมและร้องชมเชยสรรเสริญ ชื่นบาน ร่าเริงมากทีี่่ได้ยินพระป่าสวดบทนี้
         แม้จะน้อมนำทำน้ำพุทธมนต์โปรดหมู่ญาติโยมในที่ต่างๆก็ศักดิ์สิทธฺ์เหลือประมาณ จึงได้นำมาเผยเเพร่แก่ชาวเราให้รู้จักทั่วกัน และหวังประโยชน์อันสูงด้วยพุทธานุภาพของพระคาถาธารณปริตรนี้แก่ผู้เลื่อมใสทุกท่านเทอญ

พระคาถาธารณปริตร

1. 
พุทธานัง ชีวืตัสสะ นะ สักกา เกนะจิ อันตะราโย กาตุง ตถา เม โหตุ
อะตีตัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต อัปปะฏิหะ
ตะญานัง อนาคะตัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต
อัปปะฏิหะตะญานัง ปัจจุปันนัง เส พุทธัสสะ
ภะคะวะโต อัปปะฏิหะตะญานัง

2.
อิเมหิ ตีหิ ธัมเมหิ สะม้ันนาคะ ตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต
สัพพัง กายะกัมมัง ญาณะปุพพังคะมัง ญาณานุปะริวัตตัง
สัพพัง วจีกัมมัง ญาณะปุพพังคะมัง ญาณานุปะริวัตตัง
สัพพัง มโนกัมมัง ญาณะปุพพังคะมัง ญาณานุปะริวััตตัง

3.
อิเมหิ ฉะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต
นัตถิ ฉันทัสสะ หานิ
นัตถิ ธัมมะเทสนายะ หานิ
นัตถิ วิริยัสสะ หานิ
นัตถิ วิปัสสะนายะ หานิ
นัตถิ สมาธิธัสสะ หานิ
นัตถิ วิมุตติยา หานิ

4.
อิเมหิ ทะวาทะสะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต
นัตถิ ทะวา นัตถิ ระวา
นัตถิ อัปผุฏฏัง นัตถิ เวคายิตัตตัง
นัตถิ พะยาวะฏะมะโน
นัตถิ อัปปะฏิสังขารุเปกขา

5.
อิเมหิ อัฏฐาระสะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง
นัตถิ ตะถาคะตัสสะ กายะทุจะริตตัง
นัตถิ ตะถาคะตัสสะ มะโนทุจะริตตัง
นัตถิ อะตีตัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปะฏิหะตะญานัง
นัตถิ อะนาคะตัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปะฏิหะตะญานัง
นัตถิ ปัจจุปันนัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปะฏิหะตะญานัง
นัตถิ ส้ัพพัง กายะกัมมัง ญาณานุปุพพัง คะมัง ญาณัง นานุปริวัตตัง
นัตถิ ส้ัพพัง วจีกัมมัง ญาณานุปุพพัง คะมัง ญาณัง นานุปริวัตตัง
นัตถิ ส้ัพพัง มะโนกัมมัง ญาณานุปุพพัง คะมัง ญาณัง นานุปริวัตตัง
อิมัง ธาระนัง อะมิตัง อะสะมัง สัพพะสัตตานัง ตานังเลนัง สังสาระภะยะภีตานัง อัคคัง มหาเตชัง

6.
อิมังอานันทะ ธาระณะปริตตัง ธาเรหิ วาเรหิ ปริปุจฉาหิ ตัสสะ กาเย วิสัง นะ กะเมยยะ อุทะเก นะ ลัคเคยยะ อัคคี นะ ทะเหยยะ นานาภะยะวิโก นะ เอกาหาระโก นะ ทะวิหาระโก นะ ติหาระโก นะ จะตุหาระโก นะ อุมมัตตะกัง นะ มุฬะหะกัง มะนุสเสหิ อะมะนุสเสหิ นะ หิงสะกา

7.
ตัง ธาระณัง ปริตตัง ยถา กะตะเม ชาโล มหาชาโล ชาลิตเต มหาชาลิตเต ปุคเค มหาปุคเค สัมปัตเต มหาสัมปัตเต ภูตัง คะมะหิ ตะมังคะลัง

8.
อิเม โข ปะนานันทะ ธาระณะปริตตัง สัตตะสะเตหิ สัมมาสัมพุทธโกฏีหิ ภาสิตัง วัตเต อะวัตเต คันธะเว อะคันธะเว โนเม อะโนเม เสเว อะเสเว กาเย อะกาเย ธาระเณ อะธาระเณ เสเว อะเสเว กาเย อะกาเย ธาระเณ อะธาระเณ อิลลิ มิลลิ ติลลิ อะติลลิ โยรุกเข มหาโยรุกเข ภูตัง คะมะหิ ตะมังคะลัง

9.
อิเม โข ปะนานันทะ ธาระณะปริตตัง นะวะ นะวุฒิยา สัมมาสัมพุทธโกฏีหิ ภาสิตัง ทิฏฐิลา ฑัณทิลา มันติลา โรคิลา ขะระลา ทุพพิลา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิเม โหตุ สัพพะทา 

ธาระณะปะริตตัง นัฏฐิตัง

พระคาถาธารณปริตรนี้ได้มาจาก
วัดป่าวิเวกวัฒนาราม อำเภอคำชะอี จังหวัดมุกดาหาร

ที่มา--จากหนังสือเสบียงทิพย์

การให้อภัย